วันพุธที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

แบบทดสอบ 2

หน่วยที่1  องค์ประกอบคอมพิวเตอร์


ตอนที่2 จงเลือกคำตอบที่ถูกเพียงคำตอบเดียว


1.บุคลากรในข้อใดมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มากที่สุด


 ตอบ ก. นักวิเคราะห์ระบบ


2.ข้อใดคือยูติลิตี้โปรแกรม


ตอบ ข.Winzip


3.ข้อถือว่าเป็นองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์


ตอบ ค.แป้นพิมพ์


4.ข้อใดไม่ใช้ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์


ตอบ ข.Games


5.ในกรณีที่ต้องการต่อสาย เมาส์ ต้องต่อเข้าอุปกรณ์ใด


ตอบ ค.เมนบอร์ด


6.ข้อใดไม่ใช้หน่วยความจำสำรอง


ตอบ ง.รอม


7.คอมพิวเตอร์ในข้อใดน่าจะนำไปใช้งานมากที่สุด


ตอบ ก.อนาลอกคอมพิวเตอร์


8.ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์


ตอบ ง.ซุปเปอร์แวร์


9.องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ในการแสดง ผลคือข้อใด


ตอบ ข.จอภาพ


10.ซอฟต์แวร์ที่เป็นภาษาของคอมพิวเตอร์คือข้อใด


ตอบ ง.Basic
  
หน่วยที่2  หลักการทำงานคอมพิวเตอร์


ตอนที่2 จงเลือกคำตอบที่ถูกเพียงคำตอบเดียว

1.ข้อใดคืออุปกรณ์ด้านอินพุทยูนิต

ตอบ ค.เมาส์

2.หน่วยประมวลผลข้อมูลกลางคือข้อใด

ตอบ ข.ซีพียู

3.ข้อใดไม่ใช้อุปกรณ์ต่อพ่วง

ตอบ ค.เมนบอร์ด

4.เครื่องพิมพ์ที่ใช้หลักการฉีดพ่นหมึกข้อใด

ตอบ ข.อิงค์เจต

5.การที่ให้ปากกาเคลื่อนที่ไปมาบนแกนโลหะเพื่อวาดภาพลงบนกระดาษเป็นหลักการของอุปกรณ์ชนิดใด

ตอบ ก.Flatbed Plotter

6. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่อ่านรหัสข้อมูลที่ติดบนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ คืออุปกรณ์ใด

ตอบ ง.BarCode Reader

7.หน่วยความจำภายในกล้องดิจิตอลสามารถเป็นภาพได้ประมาณกี่ภาพ

ตอบ ข.20

8 .ข้อใดไม่ใช่สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล

ตอบ ค.รอม

9.สื่อบันทึกข้อมูลที่มีความจุมากกว่า 4.7 GB คือข้อใด

ตอบ ก.ดีวีดีรอม

10.ข้อใดคือคุณสมบัติของแฮนดี้ไดร์ฟ

ตอบ ก.พกพาสะดวกจุข้อมูลมาก

หน่วยที่3  โปรแกรมระบบปฏิบัติการ
 

ตอนที่2 จงเลือกคำตอบที่ถูกเพียงคำตอบเดียว

1.ข้อใดไม่ใช้หน้าที่ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ

ตอบ ก.จำข้อมูลช่วงที่มีการเชื่อมไฟ

2.ข้อดีของระบบปฏิบัติการ Dos คือข้อใด

ตอบ ง.ทำงานในโหมดตัวอักษร

3.ข้อเสียของระบบปฏิบัติการวินโดวส์95 คือข้อใด

ตอบ ข.ต้องสั่งงานโดยใช้เมาส์

4วินโดวส์95 ต่างจากวินโดวส์98 อย่างไร

ตอบ ง.ซอฟแวร์สนับสนุน

5.ระบบปฏิบัติการใดน่าจะมีความเหมาะสมในยุคปัจจุบัน (พ.ศ.2547)มากที่สุด

ตอบ ค.Windows XP

6.ระบบปฏิบัติการที่เหมาะกับคอมพิวเตอร์เมนเฟรมและการติดต่อสื่อสารระยะไกลคือข้อใด

ตอบ ข.Unix

7.ระบบปฏืบัติการประเภท Open Source คือข้อใด

ตอบ ค.Linux

8.ระบบปฏิบัติการใดเหมาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ SUN

ตอบ ก.Solaris

9.ระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาคือข้อใด

ตอบ ค.Windows CE

10.ระบบปฏิบัติการที่ถูกบรรจุในหน่วยความจำรอมคือข้อใด

ตอบ ข.Firmware

อุปกรณ์ต่อพวง

อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์ต่อพ่วง

อุปกรณ์รับเข้า (INPUT DEVICE)  
ทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รับเข้าที่เป็นที่
รู้จักและนิยมใช้ได้แก่

 
แป้นพิมพ์ ( KEYBOARD )  เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ทุกเครื่องจะต้องมีการรับข้อมูลคือ ผู้ใช้กดแป้นพิมพ์แล้วจึงแปลงรหัสเข้าสู่การประมวลผลต่อไป




 
เมาส์ (MOUSE)  เป็น อุปกรณ์ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งานเพิ่มมากขึ้น เมาส์จะมีรูปร่างพอเหมาะกับมือ และมีลูกกลิ้งอยู่ข้างล่าง โดยระบบคอมพิวเตอร์จะทำงานสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของลูกกลิ้ง และรับคำสั่งจากการกดปุ่มเมาส์

 

 

 
สแกนเนอร์ (SCANNER)  จะทำงานโดยการอ่านรูปภาพ แล้วแปรเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถที่จะเข้าใจได้

 


 
5.5 อุปกรณ์ส่งออก (OUTPUT DEVICE)
 
ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลข้อมูล อุปกรณ์ส่งออกที่นิยมใช้ในปัจจุบัน   ได้แก่

 
จอภาพ (MONITOR)  เป็น อุปกรณ์ส่งออกที่ผู้ใช้คุ้นเคยมากที่สุด ใช้แสดงผลในรูปของข้อความและรูปภาพ เริ่มแรกนั้นมีการนำเอาโทรทัศน์มาเป็นจอภาพสำหรับการแสดงผล แต่ผลที่ได้ไม่เป็นที่น่าพอใจนัก จึงมีการผลิตจอขั้นมาจอภาพนั้นมีหลายลักษณะซึ่งลักษณะที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คุ้น เคยและพบเห็นบ่อย ๆ ได้แก่
 

 
           จอภาพแบบซีอาร์ที ( CATHODE RAY TUBE : CRT )
 
จะมีลักษณะจอ โค้งนูน ลักษณะการแสดงผลนั้นเริ่มแรกแสดงผลได้เฉพาะเป็นตัวอักษรเท่านั้น แต่จะมีความละเอียดสูงเรียกว่า จอภาพแบบสีเดียว (MONOCHROME DISPLAY ADAPTER :MDA ) ต่อมามีการพัฒนาจอสี (COLOR GRAPHIC ADAPTER : CGA) ซึ่งสามารถแสดงภาพสีและภาพกราฟิกได้ แต่จะแสดงตัวอักษรและตัวเลขได้ไม่ดีเท่าจอแบบสีเดียว จอรุ่นต่อมาที่สามารถแสดงภาพกราฟิกได้ละเอียด และมีจำนวนสีมากขึ้นเรียกว่า จอสีภาพละเอียด ( ENHANCE GRAPHIC ADAPTER: EGA )
 



 
ส่วนจอ สีภาพละเอียดพิเศษ (VIDEO GRAPHIC ARRAY: VGA) เป็นจอภาพที่มีความละเอียดสูงมาก ปัจจุบันจอภาพที่ใช้สำหรับงานคอมพิวเตอร์ในด้านการออกแบบจะใช้จอภาพ เอ็กซ์วีจีเอ (EXTRA VIDEO GRAPHIC ARRAY : XVGA)  
         จอภาพแบบแอลซีดี ( LIQUID CRYSTAL DISPLAY: LCD )
 
เดิมเป็นจอ ภาพที่ใช้กับเครื่องคิดเลขและนาฬิกา แต่ปัจจุบันจะพบได้ในเครื่อง PC แบบพกพา เช่น โน้ตบุ้คหรือแล็ปท็อป จอภาพแบบนี้จะมีลักษณะแบนเรียบและบาง และได้พัฒนาให้การแสดงผลมีความละเอียดและได้ภาพที่ชัดเจน
 
 
เครื่องพิมพ์ (PRINTERS)  ถือ เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สำคัญรองลงมาจากจอภาพ เพราะจะแสดงผลลัพธ์ลงบนกระดาษทำให้สะดวกต่อการใช้งาน ( อุปกรณ์ที่สามารถเก็บผลที่แสดงออกมาได้ เราเรียกว่า HARD COPY ส่วนจอภาพจะเป็น SOFT COPY ) ลักษณะของเครื่องพิมพ์ที่ใช้กันในปัจจุบันได้แก่

 

        เครื่องพิมพ์แบบจุด (DOT-MATRIX PRINTERS)
 
            คุณภาพของงานพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ ชนิดนี้จะขึ้นอยู่กับจำนวนจุดของเครื่อง เพราะผลที่ได้จากการพิมพ์จะมีลักษณะเป็นจุด เครื่องพิมพ์ชนิดนี้จะมีราคาถูกเหมาะสำหรับงานพิมพ์ที่ไม่ต้องการความ ละเอียดมากนัก เครื่องพิมพ์แบบจุดนี้จัดเป็นเครื่องพิมพ์แบบกระทบ
( IMPACT PRINTER ) คือ เวลาพิมพ์หัวพิมพ์จะกระทบกับผ้าหมึก
 


 

 

        เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก (INKJET PRINTER)
 
           หลักการทำงานคือการฉีดหมึกลงบนกระดาษเป็นจุดเล็ก ๆ เพื่อให้ได้รูปแบบงานพิมพ์ที่ต้องการ งานพิมพ์ที่ได้จะมีความละเอียดกว่าเครื่องพิมพ์แบบจุดมาก เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกนี้จัดเป็นเครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ ( NON - IMPACT PRINTER ) เพราะเครื่องพิมพ์แบบนี้ทำงานโดยไม่ต้องใช้แถบผ้าหมึก
 

 
        เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (LASER PRINTER)
 
            หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์แบบนี้ จะใช้หลักการเดียวกันกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือใช้แสงเลเซอร์ในการพิมพ์เรียกว่า LED ( LIGHT-EMIT-TING DIODE) และ LCS (LIQUID CRYSTAL SHUTTER) ซึ่งจะพิมพ์งานออกทีละหน้า เราเรียกงานพิมพ์แบบนี้ว่า PPM ( PAGE PER MINUTE ) ทั้งงานพิมพ์ที่ได้ก็มีคุณภาพสูงและคมชัดมาก เวลาพิมพ์ก็ไม่ส่งเสียงดังรบกวน เครื่องพิมพ์แบบนี้จัดเป็นเครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ ( NON - IMPACT PRINTER ) เช่นกัน
 


 
        พล็อตเตอร์ (PLOTTER)
 
              เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มักจะใช้ในงานเขียนแบบ หรืองานด้านกราฟิก เช่นพิมพ์เขียว การพิมพ์แผนผังขนาดใหญ่ แผนที่ หัวพิมพ์จะทำงานเป็นเหมือนปลายปากกา ลักษณะงานพิมพ์จะเป็นงานที่ซับซ้อนและใช้กระดาษแผ่นใหญ่ ๆ ในการพิมพ์


 
5.6 อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่น ๆ
 
           โมเด็ม ( MODEM) ย่อมาจาก MODULATOR-DEMODULATOR ทำหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูล
ประโยชน์ของโมเด็มเพื่อใช้ในการสื่อสารระยะไกลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ต้องอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์ในการสื่อสารด้วย อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลของโมเด็มมีหน่วยเป็นบิตต่อวินาที โมเด็มสามารถรับและส่งได้ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความ ภาพและเสียง ลักษณะของโมเด็มมี 2 แบบคือ

            
แบบ INTERNAL คือ เป็นแผงวงจรเสียบเข้าภายในเครื่องคอมพิวเตอร์
 
                        แบบ EXTERNAL คือ เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อภายนอกกับเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบนี้จะมีราคาสูงกว่าแบบ INTERNAL